Deprecated: Methods with the same name as their class will not be constructors in a future version of PHP; plgContentGoogleCalendar has a deprecated constructor in /var/www/vhosts/accident.or.th/domains/accident.or.th/public_html/plugins/content/googlecalendar/googlecalendar.php on line 24
เขียนโดย Super User

     วันที่ 25 ธ.ค.61 บรรณาธิการข่าว ช่อง 3 และ บรรณาธิการข่าว โพสต์ทูเดย์ ออนไลน์ ให้การต้อนรับทีมรณรงค์จากเครือข่ายลดอุบัติเหตุ นำโดย นายพรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ) เข้าพบชวนพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 นำเสนอข่าวสาร กระตุ้นเตือน Low Speedมีสิทธิ์รอด รวมทั้งเพิ่มความระมัดระวังตามจุดเสี่ยงต่างในเทศกาลปีใหม่ 
สาระสำคัญของกฎหมายได้บังคับใช้อย่างเข้มข้น ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 คือ 
1. หากเกิดอุบัติเหตุแล้วผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ทางลมหายใจให้สันนิษฐานว่าเมาสุรา 
2. ในกรณีที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือเสียชีวิต ญาติมีสิทธิร้องขอให้พนักงานสอบสวนส่งตรวจเลือดผู้ขับขี่ทั้งสองฝ่าย
3. ให้สถานพยาบาลของรัฐ ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดทุกราย ภายใน 4 ชั่วโมง (หากเกิน 
6 ชั่วโมง ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดจะลดลงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์)
4. กรณีมีค่าแอลกอฮอล์ เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ โทษคือ ดื่มแล้วขับ จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับขั้นต่ำ 10,000 -20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลสามารถสั่งพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือ เพิกถอนใบอนุญาต 2.กรณีผู้ขับขี่อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือใช้ใบขับชี่ชั่วคราว หากตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ให้ถือว่าเมาสุรา 3. ถ้าไปชนคนอื่นบาดเจ็บ จำคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000 -100,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ และ 
4. ถ้าไปชนคนอื่นอันตรายสาหัส จำคุก 2-6 ปี ปรับ 40,000-120,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ 5. ถ้าไปชนคนอื่นถึงแก่ความตาย จำคุก 3-10 ปี ปรับ 60,000-200,000 บาท และเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่

0
0
0
s2smodern
เขียนโดย Super User

    วันที่ 25 ธ.ค.61 บรรณาธิการข่าวและผู้สื่อข่าว นสพ.มติชน ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 นำเสนอข่าวสาร กระตุ้นเตือน Low Speedมีสิทธิ์รอด รวมทั้งเพิ่มความระมัดระวังตามจุดเสี่ยงต่างในเทศกาลปีใหม่ นำโดย นายพรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ) พร้อมทีมเยาวชน 
สาระสำคัญของกฎหมายได้บังคับใช้อย่างเข้มข้น ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 คือ 
1. หากเกิดอุบัติเหตุแล้วผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ทางลมหายใจให้สันนิษฐานว่าเมาสุรา 
2. ในกรณีที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือเสียชีวิต ญาติมีสิทธิร้องขอให้พนักงานสอบสวนส่งตรวจเลือดผู้ขับขี่ทั้งสองฝ่าย
3. ให้สถานพยาบาลของรัฐ ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดทุกราย ภายใน 4 ชั่วโมง (หากเกิน 
6 ชั่วโมง ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดจะลดลงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์)
4. กรณีมีค่าแอลกอฮอล์ เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ โทษคือ ดื่มแล้วขับ จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับขั้นต่ำ 10,000 -20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลสามารถสั่งพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือ เพิกถอนใบอนุญาต 2.กรณีผู้ขับขี่อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือใช้ใบขับชี่ชั่วคราว หากตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ให้ถือว่าเมาสุรา 3. ถ้าไปชนคนอื่นบาดเจ็บ จำคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000 -100,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ และ 4. ถ้าไปชนคนอื่นอันตรายสาหัส จำคุก 2-6 ปี ปรับ 40,000-120,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ 5. ถ้าไปชนคนอื่นถึงแก่ความตาย จำคุก 3-10 ปี ปรับ 60,000-200,000 บาท และเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่

0
0
0
s2smodern
เขียนโดย Super User

     (วันที่ 26 ธ.ค.61) นายพรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ) พร้อมทีมเยาวชน เข้าพบกองบรรณาธิการข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เพื่อนำเสนอข้อมูลข่าวสาร มาตรการป้องกันและเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 เน้นกระตุ้นเตือนขับช้า Low Speed มีสิทธิ์รอด รวมทั้งเพิ่มความระมัดระวังตามจุดเสี่ยงต่างในเทศกาลปีใหม่ 
ทั้งนี้ สาระสำคัญของกฎหมายได้บังคับใช้อย่างเข้มข้น ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 คือ 
1. หากเกิดอุบัติเหตุแล้วผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ทางลมหายใจให้สันนิษฐานว่าเมาสุรา 
2. ในกรณีที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือเสียชีวิต ญาติมีสิทธิร้องขอให้พนักงานสอบสวนส่งตรวจเลือดผู้ขับขี่ทั้งสองฝ่าย
3. ให้สถานพยาบาลของรัฐ ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดทุกราย ภายใน 4 ชั่วโมง (หากเกิน 
6 ชั่วโมง ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดจะลดลงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์)
4. กรณีมีค่าแอลกอฮอล์ เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ โทษคือ ดื่มแล้วขับ จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับขั้นต่ำ 10,000 -20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลสามารถสั่งพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือ เพิกถอนใบอนุญาต 2.กรณีผู้ขับขี่อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือใช้ใบขับชี่ชั่วคราว หากตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ให้ถือว่าเมาสุรา 3. ถ้าไปชนคนอื่นบาดเจ็บ จำคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000 -100,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ และ 4. ถ้าไปชนคนอื่นอันตรายสาหัส จำคุก 2-6 ปี ปรับ 40,000-120,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ 5. ถ้าไปชนคนอื่นถึงแก่ความตาย จำคุก 3-10 ปี ปรับ 60,000-200,000 บาท และเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่

0
0
0
s2smodern
เขียนโดย Super User

    วันที่ 25 ธ.ค.61 นายสัมพันธ์ ชะเอม รองผู้อำนวยการสำนักข่าวอมรินทร์ทีวี และ คุณอารีรัตน์ สุขรุ่งเรือง ผู้ประกาศข่าวเที่ยงอมรินทร์ทีวี ให้การต้อนรับและร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 จะร่วมนำเสนอข่าวสาร กระตุ้นเตือน Low Speedมีสิทธิ์รอด รวมทั้งเพิ่มความระมัดระวังตามจุดเสี่ยงต่างในเทศกาลปีใหม่ นำโดย นายพรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ) พร้อมทีมเยาวชน 
สาระสำคัญของกฎหมายได้บังคับใช้อย่างเข้มข้น ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 คือ 
1. หากเกิดอุบัติเหตุแล้วผู้ขับขี่ไม่ยอมให้ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ทางลมหายใจให้สันนิษฐานว่าเมาสุรา 
2. ในกรณีที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือเสียชีวิต ญาติมีสิทธิร้องขอให้พนักงานสอบสวนส่งตรวจเลือดผู้ขับขี่ทั้งสองฝ่าย
3. ให้สถานพยาบาลของรัฐ ตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดทุกราย ภายใน 4 ชั่วโมง (หากเกิน 
6 ชั่วโมง ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดจะลดลงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์)
4. กรณีมีค่าแอลกอฮอล์ เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ โทษคือ ดื่มแล้วขับ จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับขั้นต่ำ 10,000 -20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลสามารถสั่งพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือ เพิกถอนใบอนุญาต 2.กรณีผู้ขับขี่อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือใช้ใบขับชี่ชั่วคราว หากตรวจพบแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ให้ถือว่าเมาสุรา 3. ถ้าไปชนคนอื่นบาดเจ็บ จำคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000 -100,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ และ 4. ถ้าไปชนคนอื่นอันตรายสาหัส จำคุก 2-6 ปี ปรับ 40,000-120,000 บาท และพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ 5. ถ้าไปชนคนอื่นถึงแก่ความตาย จำคุก 3-10 ปี ปรับ 60,000-200,000 บาท และเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่

0
0
0
s2smodern
เขียนโดย Super User

    (วันที่ 26 ธ.ค.61) คุณชุตินธรา วัฒนกุล บรรณาธิการข่าว พร้อมด้วย คุณนันทสิทธิ์ นิตย์เมธา ของสถานีโทรทัศน์ PPTV ให้การต้อนรับสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ นำโดยนายพรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ (สคอ)พร้อมทีมเยาวชน ทั้งนี้ได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร มาตรการป้องกันและเฝ้าระวังอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2562 เน้นกระตุ้นเตือนขับช้า Low Speed มีสิทธิ์รอด ดื่มไม่ขับ ง่วงไม่ขับ ฯ 
ทั้งนี้ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลต่อการตัดสินใจขณะขับรถ เฉพาะเวลาตัดสินใจคนปกติอยู่ที่ 2-2.5 วินาที สำหรับตัดสินใจเมื่อเห็นคนข้ามถนนไปจนถึงเท้าแตะเบรก แต่คนที่ดื่มจนมีแอลกอฮอล์ 50-100 mg% จะตัดสินใจช้าลงไป 1 วินาที เท่ากับเพิ่ม “ระยะเบรก” ขณะความเร็วรถ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพิ่มขึ้นมาถึง 27.7 เมตร มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นถึง 8 เท่า เพราะการตัดสินใจที่ช้าลง สายตาพร่ามัว ทัศนวิสัยในการมองเห็น โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนลดลง และพฤติกรรมในการป้องกันตัวเอง เช่น คาดเข็มขัดนิรภัย สวมหมวกกันน็อก ก็ลดลงและการดื่มสังสรรค์หรือฉลองในคืนก่อนการเดินทาง จะส่งผลต่อการง่วงขับหลับในได้เพิ่มขึ้นด้วย ทั้งนี้ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) ได้รายงานสถิติอุบัติเหตุทางถนน เฉพาะปีใหม่ 2561 คือ เสียชีวิต 423 ราย บาดเจ็บ 4,005 ราย เกิดอุบัติเหตุ 3,841 ครั้ง และนับ 3 ปีย้อนหลังเฉพาะช่วง 7 วันปีใหม่ (2559-2561) มีจำนวนผู้เสียชีวิต รวมกัน 1,281 คน บาดเจ็บ 11,578 คน เกิดเหตุ 11,119 ครั้ง มีความรุนแรงเพิ่มขึ้นสาเหตุจากขับเร็วและดื่ม โดยแยกเป็นปี 2559 เสียชีวิต 380 ราย เกิดเหตุ 3,379 ครั้ง บาดเจ็บ 3,505 คน ปี 2560 เสียชีวิต 478 ราย เกิดเหตุ 3,899 ครั้ง บาดเจ็บ 4,068 คน และปี 2561 เสียชีวิต 423 ราย เกิดเหตุ 3,841 ครั้ง บาดเจ็บ 4,005 คน สาเหตุขับเร็วเกินกำหนด ร้อยละ 43.36 เมาสุรา 29.75

0
0
0
s2smodern